ประเทศไทยมีโอกาสล้มละลายไหม - AN OVERVIEW

ประเทศไทยมีโอกาสล้มละลายไหม - An Overview

ประเทศไทยมีโอกาสล้มละลายไหม - An Overview

Blog Article

รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ : ผมคิดว่า กรณีของศรีลังกาไม่เหมือนกับต้มยำกุ้ง ที่ทำให้เกิดโดมิโน เพราะตอนนั้นต่างประเทศเห็นว่าไทยขาดดุลบัญชีเดินสะพัดเยอะ มีเงินสำรองไม่พอ เจ้าหนี้รู้สึกไม่ไว้ใจ จึงนำไปสู่โดมิโน ด้วยมีปัจจัยที่สัมพันธ์กัน แต่ในกรณีของศรีลังกาไม่ใช่ครับ เพราะตอนนี้หลายประเทศก็ประสบปัญหาเดียวกัน ทั้งเรื่องพลังงาน อาหาร เงินเฟ้อ

ในห้องดูแลผู้ป่วยหนักหรือ ไอซียู ที่อยู่ถัดจากหอผู้ป่วยภาวะทุพโภชนาการ อุมเราะห์วัยหกเดือนกําลังต่อสู้กับโรคปอดบวมอย่างรุนแรง เธอร้องไห้เสียงดังขณะที่พยาบาลหยดน้ำเกลือเข้าสู่ร่างกายของเธอ นัสรีน แม่ของอุมเราะห์นั่งข้างเธอขณะเดียวกันน้ำตาไหลก็ลงมาบนใบหน้าของเธอ

แม้ตัวกฎหมายจะมีข้อดีอยู่หลายประการ แต่ก็ยังมีข้อจำกัดอยู่ด้วยใช่ไหม

นายอดิศรยังชี้ให้เห็นว่า เมื่อไม่มีสถานรับดูแลเด็กข้ามชาติในช่วงเวลากลางวัน อาจทำให้เด็กต้องติดตามพ่อแม่หรือผู้ปกครองออกไปทำงานด้วย และเสี่ยงจะทำให้เกิดการใช้แรงงานเด็กขึ้นในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของไทย ซึ่งเคยเป็นประเด็นใหญ่ที่นานาชาติจับตามองและเตือนไทยมาโดยตลอด โดยเฉพาะในภาคการประมง เกษตร และธุรกิจภาคการบริการ

เมื่อเกิดปัญหาล้มละลายแล้วหลาย ๆ คนอาจจะจมอยู่กับความทุกข์ ความเศร้า จนลืมไปว่าเราสามารถพลิกกลับมาปังได้อีกครั้งด้วยไอเดียที่อยู่รอบตัวเรา ที่สามารถหยิบจับ มาดัดแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ได้ หรือจะเป็นไอเดียธุรกิจที่เอาไว้แก้ปัญหาก็สามารถกลับมาประสบความสำเร็จได้อีกครั้ง

ซึ่งเป็นเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันของบุคคลภายนอก

วิเคราะห์ค้นหากลุ่มบุคคลที่มีลักษณะใกล้เคียงกับคุณเพื่อให้ธนาคารสามารถติดต่อกับบุคคลเหล่านั้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางการตลาดต่อไป

คำตอบดังกล่าวทำให้เห็นว่ายังมีช่องว่างระหว่างนิติบุคคลกับบุคคลธรรมดาในกฎหมายไทยอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎหมายกระบวนการฟื้นฟูหนี้สินที่ช่วยเหลือแค่ลูกหนี้ที่เป็นนิติบุคคลเพียงเท่านั้น ส่วนลูกหนี้ที่เป็นบุคคลธรรมดากลายเป็นคนที่ถูกมองข้ามไป ในแง่นี้ การจะอุดช่องว่างได้กฏหมายจึงควรอนุญาตให้ทั้งนิติบุคคลและบุคคลธรรมดาสามารถเข้าสู่กระบวนการเจรจาและฟื้นฟูหนี้สินกับเจ้าหนี้ได้อย่างเท่าเทียมกัน เพื่อให้โอกาสสร้างชีวิตใหม่ ก่อนที่จะถูกตัดสินว่าเป็นบุคคลล้มละลาย ดังที่ ดร.

จุดเริ่มต้นของหายนะครั้งนี้มาจากอะไร?

จุดเริ่มต้นของ พ.ร.บ.ล้มละลาย ประเทศไทยมีแนวคิดเกี่ยวกับกฎหมายนี้อย่างไร

ที่มาของภาพ, สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ทางฝั่งเจ้าหนี้อาจกลัวว่าลูกหนี้จะมาอาศัยช่องทางนี้เพื่อชำระหนี้แค่เพียงบางส่วนหรือไม่ชำระหนี้เลย ซึ่งประเด็นเรื่องการใช้กระบวนการกฎหมายในทางมิชอบ เป็นข้อกังวลของทุกๆ ประเทศ และเป็นเรื่องธรรมดาที่แต่ละประเทศจะต้องวางกรอบแนวทางว่าจะป้องกันเรื่องนี้ได้อย่างไร หลายฝ่ายอาจให้เหตุผลแต่เพียงว่ากลัวจะกระทบต่อวินัยทางการเงินของลูกหนี้ หรือที่เรียกว่า ‘ชักดาบ’ ‘ล้มบนฟูก’ เหล่านี้เป็นข้อกังวลที่เข้าใจได้ แต่การที่เราจะวางระบบกฎเกณฑ์ทางสังคม เราควรจะต้องพูดคุยกันด้วยข้อมูลวิจัย ว่าแท้จริงแล้วลูกหนี้มีพฤติกรรมอย่างนั้นจริงแค่ไหนเพียงใด มิเช่นนั้นก็จะเป็นเพียงข้อกล่าวอ้างลอยๆ ที่เป็นการตัดโอกาสของตัวลูกหนี้ที่พยายามจะหาทางออกจากวิกฤติด้านการเงินของตนเอง

เกี่ยวกับเรา จดหมายข่าว ติดต่อเรา หน้าหลัก ผลการประเมิน ประเทศไทยมีโอกาสล้มละลายไหม บทความ งานวิจัย

“ภาษี” เรื่องปวดหัวที่ต้องเจอ แต่หลายธุรกิจกลับทำพลาด

Report this page